Sunday, December 11, 2016

พระกรณียกิจที่สำคัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9




1.โครงการแกล้งดิน



แกล้งดิน เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว จะทำด้วยการขังน้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจนทำให้ดินเปรี้ยวจัด เมื่อถึงที่สุดแล้ว จะมีการระบายน้ำออกแล้วปรับสภาพดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งสามารถใช้ดินในการเพาะปลูกได้










2.โครงการปลูกหญ้าแฝก 


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้ทรงศึกษาเรื่องการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน้ำจากเอกสารของธนาคารโลก ที่นาย Richard Grimshaw ได้ทูลเกล้าฯ ถวาย และพระองค์ได้พระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับหญ้าแฝก โดยให้ทรงทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของดิน จนปัจจุบันมีหน่วยงานกว่า 50 หน่วยงาน ดำเนินงานสนองพระราชดำริการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก ส่งผลให้การดำเนินงานก้าวหน้ามากขึ้นตามลำดับ









3.แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง:เกษตรทฤษฎีใหม่



พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานแนวพระราชดำริเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นต้น โดยการทำเกษตรทฤษฎีใหม่นี้ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นได้แก่ ขั้นต้น คือ การแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตรา 30-30-30-10 เพื่อขุดเป็นสระกักเก็บน้ำ 30% ปลูกข้าวในฤดูฝน 30% ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผักสมุนไพร 30% และเป็นที่อยู่อาศัยอีก 10%

จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง คือการให้เกษตรกรรวมกันในรูปแบบของกลุ่ม สหกรณ์ เพื่อดำเนินการในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา จากนั้นจึงเป็นเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม คือการติดต่อประสานงาน จัดหาแหล่งเงินทุน เพื่อใช้ลงทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อไป









4.โครงการฝนหลวง


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดำริส่วนพระองค์ในเรื่องการจัดทำฝนหลวง เพื่อบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้ำในการเกษตร โดยมีการค้นคว้าทดลองปฏิบัติการฝนหลวงขึ้น ซึ่งจะใช้สารเคมีโปรยในท้องฟ้า จนกระทั่งไอน้ำอิ่มตัวและกลั่นตัวออกมากลายเป็นเม็ดฝน








5.กังหันน้ำชัยพัฒนา


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้มีพระราชดำริให้มูลนิธิชัยพัฒนาดำเนินการวิจัย และพัฒนากังหันน้ำชัยพัฒนาขึ้น เพื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ ทำให้น้ำเสียกลายเป็นน้ำดี และสามารถประยุกต์ใช้ในการอุปโภคบริโภคของประชาชน น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และเพิ่มออกซิเจนให้บ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทางการเกษตร


















Tuesday, October 4, 2016

My local

Nakhon Si Thammarat


It is one of the most ancient cities of Thailand, previously the Kingdom of Ligor, and contains many buildings and ruins of historical significance. The king of Srivijaya "had established a foothold on the Malay Peninsular at Ligor" by 775, where he "built various edifices, including a sanctuary dedicated to the Buddha and to the Bodhisattvas Padmapani and Vajrapani." [1]:84–85,91 With the fall of the Siamese capital of Ayutthaya in 1767 it regained independence, but returned to its allegiance on the founding of Bangkok. In the 17th century British, Portuguese, and Dutch merchants set up factories there and carried on an extensive trade. Its origins are not fully known. Most historians recognize the Tambralinga Kingdom of Chinese records as a precursor of Nakhon Si Thammarat. The town chronicles of this time are hardly separable from legend, but they do tell of an abandonment and refounding of the town, which would explain the break in history between Tambralinga and Nakhon Si Thammarat. References to a country named Poling appear in Chinese chronicles from the Tang dynasty period down to the early Ming dynasty. Many scholars identify Poling with Maling and Danmaling was one of the member-states of Sanfoqi (the Chinese equivalent to Srivijaya) in the central part of the Malayu Peninsula or today southern Thailand. Poling may also be equated to the Tambralingarat (Tambralinga State) that appears in Indian sources. By the end of the 12th century, Tambralinga had become independent of Srivijaya Kingdom. Its rapid rise to prominence from the 13th century to the beginning of 14th century, Tambralinga had occupied the entire Malay Peninsula and become one of the dominant south-east Asian states. By the end of the 14th century, Tambralinga had become a part of Siam (now Thailand) named Nakhon Si Thammaraj. At the time of the Sukhothai Kingdom, the Nakhon Si Thammarat Kingdom was already listed as one of the kingdoms under control of the Thai, which it has remained during most of its history. It was usually known as Ligor to European merchants in the 16th century. During the period of the five separate states following the fall of Ayutthaya in 1767, the Prince of Nakhon Si Thammarat made an abortive bid for independence, but was pardoned by Taksin and retired to Thonburi. At the end of the 19th century, the kingdom was finally fully absorbed into Siam by converting it into the Monthon Nakhon Si Thammarat. When the monthon system was abolished in 1932, the town became a provincial capital.

Amphoe Chang Klang

Chang Klang : ช้างกลาง

Provinz : Nakhon Si Thammarat
Fläche : 232,5 km²
Einwohner : 30.049 (2012)
Bev.dichte : 127,3 E./km²
PLZ : 80250, 80220
Geocode : 8022
Karte

Amphoe Chang Klang

(Thai: อำเภอ ช้างกลาง) 
ist ein Landkreis (Amphoe – Verwaltungs-Distrikt) in der Provinz Nakhon Si Thammarat. Die Provinz Nakhon Si Thammarat liegt in der Südregion von Thailand.

Geographie Bearbeiten


Die Provinz Nakhon Si Thammarat liegt etwa 780 Kilometer südlich von Bangkok an der Ostküste der Malaiischen Halbinsel zum Golf von Thailand.


Benachbarte Bezirke (von Norden im Uhrzeigersinn): die Amphoe Chawang, Lan Saka, Thung Song und Na Bon. Alle Bezirke liegen in der Provinz Nakhon Si Thammarat.


Geschichte Bearbeiten


Chang Klang wurde am 15. Juli 1996 zunächst als Unterbezirk (King Amphoe) eingerichtet, indem die drei südöstlichen Tambon Amphoe Chawang abgetrennt wurden.


Am 15. Mai 2007 hatte die thailändische Regierung beschlossen, alle 81 King Amphoe in den einfachen Amphoe-Status zu erheben, um die Verwaltung zu vereinheitlichen.Mit der Veröffentlichung in der Royal Gazette „Issue 124 chapter 46“ vom 24. August 2007 trat dieser Beschluss offiziell in Kraft.


Southern food



Tom Yum


Tom yum (rtgs: tom yam, Thai: ต้มยำ,  [tôm.jām]) is a Thai soup, usually cooked with shrimp.[1] Tom yum is widely served in countries neighbouring Thailand, such as Cambodia, Brunei, Malaysia, and Singapore, and has become popular around the world.

Attractions

Tha pae Waterfall



Tha Pae Waterfall. A. Lan Saka, Nakhon Si Thammarat. General Information - Tha Pae Waterfall - Tha Pae Waterfall.
            Located in the area. Khao Luang National Park. Run by a canal that flows through the village of Tha Pae. In the area, Moo 14, Tambon Chang Chang Klang Klang District. Rome to shift away from the waterfall, about 6 miles to travel by Highway No. 4016 for about 9 miles to the intersection of Sugar House is separate to the left onto Highway No. 4015 to approximately 29 kilometers to the entrance to Tha Pae Waterfall. Which is located about 2 kilometers deep into the Tha Pae Waterfall Waterfall Floor 10 Floor little patch, including Nan Nan Nan cried Mrs. Toei hapless Ai Nan Nan Nan Pu Nan bamboo and water rail. The recreation park open to tourism only three layers for the interest of the natural park has been prepared Trail to waterfalls, but the seventh floor have to be in control of officials. Activities - hiking, nature study - waterfall.

Saturday, July 30, 2016

Mother's Day

Mother's Day



วันแม่แห่งชาติ

         ตรงกับวันที่ 12 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยริเริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2519 โดยคณะกรรมการอำนวยการ สภาสังคมสงเคราห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จนถึงปัจจุบัน 

         The August 12 of every year is Her Majesty the Queen Sirikit's birthday. This public holiday is celebrated nationwide as Mother's Day which has been first begun since the year 1976 by The National council on Social Welfare of Thailand. The Queen is considered as the mother of all Thai people.

          สัญลักษณ์ที่ใช้ในวันแม่คือ ดอกมะลิ ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและ
หอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่
ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย 


          The flower used as symbol of this day is jasmine which is naturally white colour. Its nice smell lasts for long period and spread far away. Jasmin also sprouts all year round, so we can compare this with Mother’s true love given to her children and which is never ended.

ประวัติวันแม่แห่งชาติ

    แต่เดิมนั้น วันแม่ของชาติได้กำหนดเอาไว้วันที่ 15 เมษายนของทุก ๆ ปี ทั้งนี้เป็นไปตามมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ซึ่งได้พิจารณาเห็นว่าการจัดงานวันแม่ของสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้รับมอบหมายให้จัดงาน วันแม่ มาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2493 เป็นครั้งแรกเป็นต้นมานั้นได้รับความสำเร็จด้วยดี ด้วยประชาชนให้การสนับสนุน จนสามารถขยายขอบข่ายของงานให้กว้างขวางออกไป ต่อมาถึง พ.ศ. 2519 ทางราชการได้เปลี่ยนใหม่ให้ถือเอาวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คือ วันที่ 12 สิงหาคม วันแม่แห่งชาติ เริ่มในปี พ.ศ. 2519 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

Mother's Day History

    Originally, the day of the planned date of April 15 of each year, subject to the approval of the Cabinet endorsed on 23 February 2493, which considers that the organizers of the day's Office. cultural women National Culture Council delegate to the Mother's Day from April 15, 2493, for the first time since then has been a great success. With public support It can extend the scope of the extensive out later to be replaced in 2519, the government has come to take on the birthday of Her Majesty. Queen's Day is August 12th Mother's Day began in 2519 to the present.

ที่มา: http://www.englishquickandeasy.net/E-mail/mother's-day.html

Friday, July 29, 2016

แนวทางศึกษาต่อ


       คณะเศรษฐศาสตร์





รายละเอียดของคณะ

เศรษฐศาสตร์  เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาทางด้านพฤติกรรมมนุษย์และสังคม  ทั้งการผลิต  การบริโภค  การกระจายสินค้า  และการบริการ  รวมทั้งการบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์   เรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก  เรื่องราวที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของประเทศ ต่างประเทศและคนในสังคม  โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจและตัวเลข  เพราะเป็นเรื่องพื้นทางที่สำคัญของคนที่เรียนในด้านนี้ต้องศึกษาให้เข้าใจ

สาขาที่เปิดสอน

เศรษฐศาสตร์ทฤษฎีและปริมาณ
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
เศรษฐศาสตร์การเงิน
เศรษฐศาสตร์การคลัง
เศรษฐศาสตร์การพัฒนาและการวางแผน
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
เศรษฐศาสตร์สาธารณะ การพัฒนา และการเมือง
เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
เศรษฐศาสตร์การเกษตรและธุรกิจการเกษตร

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า  มีความสนใจในเรื่องเศรษฐกิจ  ตัวเลข  และความเป็นไปในสังคม  มีพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ที่ดี  เพื่อใช้ในการคิดวิเคราะห์  มีความรู้ด้านภาษาที่ดี  มีความจำที่ดี  เป็นนักวางแผนที่ดี  โดยเฉพาะวางแผนด้านการเงิน  มีความรับผิดชอบ  มีระเบียบในการทำงาน  และต้องรอบคอบเสมอโดยเฉพาะเรื่องตัวเลข ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญที่สายอาชีพนี้

แนวทางการประกอบอาชีพ

คนที่จบการศึกษาทางด้านเศรษฐศาสตร์  สามารถทำงานได้ทั้งรัฐบาล  รัฐวิสาหกิจ  และเอกชน  ได้แก่  ธนาคาร  บริษัทเงิน ทุนหลักทรัพย์  ครู  อาจารย์ในมหาวิทยาลัย  ทำงานในบริษัทประกันภัยและบริษัทธุรกิจอื่นๆ  ที่ต้องการนักเศรษฐศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับสภาวะการตลาด  และการวางแผนดำเนินธุรกิจต่าง ๆ  ตลอดจนประกอบธูรกิจส่วนตัว  และยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท  และปริญญาเอกในสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ  เพราะมีการเปิดสอนมากมาย

สถาบันที่เปิดสอน

- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะเศรษฐศาสตร์    
สาขาเศรษฐศาสตร์ทฤษฎี
สาขาเศรษฐศาสตร์พัฒนาการ
สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
สาขาเศรษฐศาสตร์สาธารณะ
สาขาเศรษฐศาสตร์การเงิน
สาขาเศรษฐศาสตร์ปริมาณวิเคราะห์
สาขาเศรษฐศาสตร์แรงงานและทรัพยากรมนุษย์
สาขาเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สาขาเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยองค์กรและองค์กรอุตสาหกรรม
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) (หลักสูตรนานาชาติ)

- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน)
คณะเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร 
สาขาวิชาสหกรณ์

- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  (วิทยาเขตศรีราชา)
คณะเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ประยุกต์

- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ    
เศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ